พ่อเล่าเรื่อง 97 วันน้ำโลก

วันน้ำโลกสิทธิที่จะดื่มน้ำเกี่ยวข้องกับสิทธิที่จะมีชีวิต

(Right to drinking water is linked to right to life)

จากสารของพระสันตะปาปาฟรังซิสถึงวันน้ำโลก ครั้งที่ 9 ที่จัดขึ้นที่กรุงดาการ์ ประเทศเซนากัล (Dakar, Senegal) ทวีปแอฟริกาตะวันตก ระหว่างวันจันทร์ที่ 21 ถึง วันเสาร์ที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 2022 ในหัวข้อ “ความมั่นคงทางน้ำเพื่อสันติภาพและการพัฒนา” เป็นความท้าทายของโลก มนุษยชาติ และธรรมชาติ สำหรับวันนี้และวันพรุ่งนี้ เพื่อการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

กระหายหาสันติภาพ (Thirst for peace)

เพื่อความดีงามของมนุษยชาติทุกคน ต้องใช้ความพยายามและการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องของทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บนพื้นฐานขอความต้องการที่จำเป็นและความต้องการในการดำรงชีวิตของมนุษย์ทุกคน ซึ่งปัจจุบันน้ำถูกคุกคามจากหลายปัจจัย เช่น มลพิษ อากาศที่เปลี่ยนแปลงไป และการทำลายสิ่งแวดล้อม

สิทธิในน้ำและสิทธิในการมีชีวิต (Right to water and right to life)

สิทธิแห่งการมีชีวิตเกี่ยวข้องกับสิทธิในการดื่มน้ำ และการมีสุขอนามัยที่ดี สิ่งนี้ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ของความเป็นบุคคลมนุษย์ และสิทธิมนุษยชน ความจริงแล้วการเข้าถึงน้ำและสุขอนามัยเป็น "สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน และเป็นสากล เพราะมันเกี่ยวข้องกับอยู่รอดของผู้คน"

ถือเป็นความละเลยของสังคม ที่ทำให้คนยากจนไม่มีโอกาสที่จะดื่มน้ำที่สะอาด การทำลายแหล่งน้ำลำธาร การทำให้น้ำมีมลพิษจากการทำอุตสาหกรรม การผลิตสงคราม การตัดไม้ทำลายป่า ถือเป็นการเอารัดเอาเปรียบคนยากจนประการหนึ่ง

ประชากรประมาณ 2 พันล้านคนต่อวัน ไม่มีโอกาสที่จะได้ดื่มน้ำที่สะอาดและมีสุขอนามัยที่ดี สิ่งเหล่านี้ได้เชื้อเชิญพวกเราแต่ละคนให้คิดไตร่ตรองถึงเรื่องนี้ เราจะทำอะไรเพื่อช่วยเหลือเขาอย่างเป็นรูปธรรมได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

การรักษาความดีส่วนรวม (Serving the common good)

ผู้นำการเมือง เศรษฐกิจ ผู้บริหาร นักวิจัย นักเศรษฐศาสตร์ นักการศึกษา ฯลฯ จะต้องมุ่งมั่นในการทำงานร่วมกันอย่างซื่อสัตย์ สุจริต มีศักดิ์ศรี เพื่อความดีของส่วนรวม ในการแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำดื่ม น้ำที่สะอาด เพื่อรักษาของขวัญที่พระเจ้าได้ทรงมอบให้กับเราทุกคน ไปสู่มนุษยชาติรุ่นต่อไป

แบ่งปันและบริหารจัดการน้ำ (Sharing and managing water)

น้ำที่สะอาด ทั้งที่อยู่ผิวดินและอยู่ใต้ดิน ที่อยู่ระหว่างชายแดนของแต่ละประเทศ อาจนำไปสู่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศทั้งสอง ต้องการการบริหารจัดการที่ดีเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ น้ำจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของการแบ่งปันและพระพร เหตุผลของการพบปะกัน ความร่วมมือที่จะเพิ่มความไว้ไว้วางใจและความเป็นพี่น้องต่อกันและกัน

การจัดการน้ำอย่างยั่งยืนและความร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิผล ไม่เพียงแต่ทำให้เกิดสันติภาพเท่านั้น แต่ยังสอนให้เราได้เรียนรู้การรักษาของประทานจากพระเจ้าที่สร้างสรรค์ที่ทรงมอบหมายให้เราได้ดูแลร่วมกัน ...

สถิติการเยี่ยมชม

9715595
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
2164
4369
19815
9674566
31986
169976
9715595
Your IP: 13.58.39.23
Server Time: 2024-05-08 16:55:30

แบบฟอร์ม

instagram

พระศาสนจักร


สื่อ YOUTUBE


Laudato si’

บทเรียนคำสอน





บทภาวนา

พิธีกรรมต่างๆ

เอกสารพระศาสนจักร

บทความคำสอน



KAMSONCHAN

 

   องค์กรคาทอลิก              คณะนักบวช  
 

สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย
คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม
แผนกคริสตศาสนธรรม
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ศูนย์คริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
สังฆมณฑลจันทบุรี
คณะรักกางเขนแห่งจันทบุรี
มูลนิธิสงเคราะห์เด็ก พัทยา
คามิลเลียนโซเชียลเซนเตอร์ ระยอง

  สังฆมณฑลนครราชสีมา                       
ศูนย์คริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลนครราชสีมา
สังฆมณฑลอุบลราชธานี
ศูนย์คริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลอุบลราชธานี   
สังฆมณฑลราชบุรี
ศูนย์คริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลราชบุรี
ศูนย์คริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลราชบุรี
สังฆมณฑลนครสวรรค์
สังฆมณฑลเชียงใหม่
  สังฆมณฑลสุราษฎ์ธานี
สังฆมณฑลอุดรธานี
ศูนย์คริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลอุดรธานี

สภาการศึกษาคาทอลิกประเทศไทย
คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อความยุติธรรมและสันติ (ยส.)
คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพระคัมภีร์
คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อสุขภาพอนามัย
สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย
สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย (อุดมสาร)
  ชมรมอธิการิณีเจ้าคณะนักบวชแห่งประเทศไทย
คณะภคินีเซนต์ปอลเดอร์ชาร์ต
คณะภคินีศรีชุมพาบาล       
คณะพระมหาไถ่แห่งประเทศไทย
คณะเซนต์คาเบรียล
คณะซาเลเซียน
คณะซาเลเซียน (ซิสเตอร์)
กางเขนแดงสาร

 



JSN Megazine template designed by JoomlaShine.com